แผนงานที่ 2 การพัฒนาองค์ความรู้วิจัยแพทยศาสตรศึกษา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เกิดการจัดการความรู้ (KM) การวิจัยแพทยศาสตรศึกษาอย่างน้อย 5 เรื่อง

กำดำเนินงานที่ผ่านมา

มีการแต่งตั้งคณะทำงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้การวิจัยแพทยศาสตรศึกษา

โดยมีบทบาทหน้าที่ในการจัดการความรู้ และพัฒนาองค์ความรู้วิจัยแพทยศาสตรศึกษาของประเทศ เพื่อเป็นประโยชน์ในการนำไปใช้พัฒนาและสนับสนุนงานวิจัยแพทยศาสตรศึกษาอย่างเป็นรูปธรรมต่อไป โดยมีรายชื่อดังต่อไปนี้

  1. 1. พันเอก นายแพทย์ทวีศักดิ์ นพเกษร ประธานคณะทำงาน
  2. 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (พิเศษ) นายแพทย์ไพโรจน์ บุญลักษณ์ศิริ รองประธาน
  3. 3. ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สุรศักดิ์ บูรณตรีเวทย์ กรรมการ
  4. 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์เทิดศักดิ์ ผลจันทร์ กรรมการ
  5. 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นภา หลิมรัตน์กรรมการ
  6. 6. ดร.นายแพทย์สุธีร์ รัตนะมงคลกุล กรรมการ
  7. 7. แพทย์หญิงกนกวรรณ ศรีรักษา กรรมการ
  8. 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์กฤษณะ สุวรรณภูมิ กรรมการและเลขานุการ

 

การประชุมคณะทำงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิจัยการแพทยศาสตรศึกษา

  • ประชุมคณะทำงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้การวิจัยแพทยศาสตรศึกษา ครั้งที่ 1/2558 วันจันทร์ที่ 28 กันยายน 2558
  • ประชุมคณะทำงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้การวิจัยแพทยศาสตรศึกษา ครั้งที่ 2/2558 วันอังคารที่ 1 ธันวาคม 2558
  • ประชุมคณะทำงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้การวิจัยแพทยศาสตรศึกษา ครั้งที่ 3/2558 วันอังคารที่ 5 มกราคม 2559
  • ประชุมคณะทำงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้การวิจัยแพทยศาสตรศึกษา ครั้งที่ 1/2559 วันจันทร์ที่ 26มกราคม 2559
  • ประชุมคณะทำงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้การวิจัยแพทยศาสตรศึกษา ครั้งที่ 2/2559 วันจันทร์ที่ 28 มีนาคม 2559
ใช้ AMEE Guide เป็นข้อมูลนำเข้ากิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยเลือกหัวข้อที่สนใจ 5 เรื่อง

ได้คัดเลือกหัวข้อสำหรับจัดทำการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 5 เรื่อง โดยดำเนินการแปลสรุปความเป็นภาษาไทย และพิจารณาเนื้อหาให้ครอบคลุมในประเด็นความถูกต้องของการแปลสรุปความ วิธีการวิจัย (Research Methodology) ความครอบคลุมของเนื้อหา การนำไปประยุกต์ใช้ในบริบทของประเทศไทยเพื่อจัดทำเป็นคู่มือแนวทางการทำวิจัยต่อไป โดยเนื้อหาที่คัดเลือก 5 หัวข้อประกอบด้วย

แนวทาง 1      

(Guideline 1) 

วิธีการวิจัยเชิงปริมาณในงานวิจัยแพทยศาสตรศึกษา

(Quantitative methods in medical education research)

ผศ.(พิเศษ) นพ.ไพโรจน์ บุญลักษณ์ศิริ

ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลหาดใหญ่

AMEE Guide90: Quantitative and qualitative methods in medical education research

บทสรุปภาษาไทย (Summary)

ประเด็นการนำไปใช้งาน (Recommendations)

แนวทาง 2

(Guideline 2) 

วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพในงานวิจัยแพทยศาสตรศึกษา

(Qualitative methods in medical education research)

ผศ.นพ.กฤษณะ สุวรรณภูมิ

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

AMEE Guide90: Quantitative and qualitative methods in medical education research

บทสรุปภาษาไทย (Summary)

ประเด็นการนำไปใช้งาน (Recommendations)

แนวทาง 3

(Guideline 3)

 

การสร้างแบบสอบถามในงานวิจัยทางการศึกษา

(Developing questionnaires for educational research)

 

ผศ.นภา หลิมรัตน์

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

AMEE Guide87: Developing questionnaires for educational research

บทสรุปภาษาไทย (Summary)

ประเด็นการนำไปใช้งาน (Recommendations)

แนวทาง 4 Guideline 4   

 

การใช้การสนทนากลุ่มในงานวิจัยแพทยศาสตรศึกษา

(Using focus groups in medical education research)

ผศ.นพ.กฤษณะ สุวรรณภูมิ

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

AMEE Guide91: Using focus groups in medical education research

บทสรุปภาษาไทย (Summary)

ประเด็นการนำไปใช้งาน (Recommendations)

แนวทาง 5 Guideline 5   

 

การใช้ฐานข้อมูลในงานแพทยศาสตรศึกษา

(Using databases in medical education)

พญ.กนกวรรณ ศรีรักษา

ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิกโรงพยาบาลขอนแก่น

AMEE Guide77: Using databases in medical education

บทสรุปภาษาไทย (Summary)

ประเด็นการนำไปใช้งาน (Recommendations)

แผนการดำเนินงานต่อไป 

  1. จัดประชุมวิพากษ์และให้ข้อเสนอแนะแนวทางการทำวิจัยโดยคณะทำงานและผู้ทรงคุณวุฒิวิชาการ
  2. จัด Workshop ให้ความรู้และกระตุ้นให้ผู้สนใจเข้าร่วมดำเนินงานวิจัยแพทยศาสตรศึกษา
  3. จัดทำคู่มือแนวทางการทำวิจัยแพทยศาสตรศึกษาในรูปแบบ Booklet

 

By | 2016-12-08T13:21:04+00:00 กันยายน 6th, 2016|แผนงานที่ 2|0 Comments

About the Author: